"ส่งเสริมการเกษตรอย่างสร้างสรรค์ ก้าวทันสถานการณ์ ปฏิบัติงานด้วยความภาคภูมิ"

ประกาศ/ข่าวสารสารสนเทศ

ข่าวสารด้านการเกษตร

ร่าง คู่มือขึ้นทะเบียนและปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2567.

รายละเอียด

การขึ้นทะเบียนเกษตรกรออนไลน์.

รายละเอียด

การจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน.

รายละเอียด

แจ้งเตือน/พยากรณ์

เทคโนโลยีและนวัตกรรมด้านการจัดการดินและปุ๋ย.

รายละเอียด

การวินิจฉัยศัตรูพืชในระดับพื้นที่.

รายละเอียด

โรคพุ่มแจ้มันสำปะหลัง.

รายละเอียด

ข้อมูลเอกภาพพืชเศรษฐกิจที่สำคัญอำเภอเขมราฐ

ข้อมูลเอกภาพพืชเศรษฐกิจอำเภอขมราฐ

รายละเอียด

ข้าวนาปี

รายละเอียด

ข้าวนาปรัง

รายละเอียด

มันสำปะหลัง

รายละเอียด

ยางพารา

รายละเอียด

ปาล์มน้ำมัน

รายละเอียด

ลำใย

รายละเอียด

มะม่วงหิมะพาน

รายละเอียด

ทุเรียน

รายละเอียด

ฝรั่ง

รายละเอียด

ข่าวกิจกรรมประชาสัมพันธ์

"กรมส่งเสริมการเกษตรดำเนินการภายใต้วิสัยทัศน์ เกษตรกรมีความเข้มแข็ง มีคุณภาพชีวิตที่ดี ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม และมีรายได้ที่มั่นคง ดดยให้ความสำคัญกับการพัฒนาองค์กร พัฒนาระบบการทำงานและการให้บริการเกษตรกรด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล มุ่งสู่การเป็น Digital DOAE เพื่อให้สามารถขับเคลื่อนงานและรองรับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้แนวคิด Next Step ขับเคลื่อนองค์กรวิถีใหม่ โดยมีผลการดำเนินงานตามภารกิจภายใต้กลยุทธ์ของแผนปฏิบัติราชการ" Click

"กรมส่งเสริมการเกษตร มีภารกิจเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร ครอบครัวเกษตรกร องค์กรเกษตรกร และวิสาหกิจชุมชน การส่งเสริมและพัฒนาเพิ่มศักยภาพการผลิต การแปรรูป การเพิ่มมูลค่า การพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ โดยการศึกษา วิจัย พัฒนา กำหนดมาตรการและแนวทางในการส่งเสริมการเกษตร ตลอดจนการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรและการให้บริการทางการเกษตร เพื่อให้เกษตรกรมีอาชีพและรายได้ที่มั่นคง มีคุณภาพชีวิตที่ดี และพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน" Click

"สำนักงานเกษตรจังหวัดอุบลราชธานี ก่อตั้งเมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2510 วัตถุประสงค์การก่อตั้งกรมส่งเสริมการเกษตร มุ่งจัดรูปแบบบริการทางวิชาการเกษตรให้อยู่ในสถาบันเดียวกัน เพื่อสะดวกในการบริการแก่เกษตรกร โดยจัดให้มีการปลูกพืชอาหารให้พลเมือง และส่งเป็นสินค้าออก รวมทั้งเป็นวัตถุดิบของอุตสาหกรรมในประเทศ และกระทำในลักษณะให้เกษตรกรรวมกันเป็นกลุ่ม มีการประสานงานกับสถาบันของรัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง แนวทางการส่งเสริมกระทำโดยพิจารณาความต้องการของตลาดทั้งภายในและภายนอกเป็นหลัก มีการกำหนดรูปแบบการปลูกให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และทรัพยากรเพื่อให้ได้ผลตอบแทนสูงสุด สนับสนุนการรวมกลุ่มการสร้างเกษตรกรชั้นนำในท้องถิ่น เพื่อมุ่งให้เกิดการช่วยตนเอง รวมทั้งยุวเกษตรกร กำหนดแผนการปลูกพืชหลายครั้งในพื้นที่ที่มีอยู่แทนการเพิ่มผลผลิต เพื่อแก้ไขปัญหาการทำงานไม่เต็มที่ของเกษตรกร" Click